ดรรชนี

วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ = /SERIALS
Bib 13399114626
มีดรรชนีวารสาร
  •  หลักสูตรปริญญาเอกทางการปฏิบัติการพยาบาล : ความท้าทายของการพัฒนาผู้นำทางการพยาบาล
  •  ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตในผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเดงกีที่มีภาวะลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือด
  •  การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่บ้านสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
  •  บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสซิก้า
  •  ความวิตกกังวลในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดของโรคเนื้องอกสมอง: การจัดการทางการพยาบาล
  •  ชีวิตวิถีใหม่ของบุคลากรด้านสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงพยาบาลค่ายประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี
  •  ผลของการพยาบาลครอบครัวขอนแก่นโมเดลจ่อการควบคุมโรคของบุคคลเบาหวานชนิดที่ 2
  •  ปัจจัยทำนายการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
  •  ประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลตามระยะเปลี่ยนผ่านของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช
  •  กระบวนการพยาบาลครอบครัวสำหรับครอบครัวที่มีบุคคลเสพยาบ้า : การศึกษาหลายกรณี
  •  ความรู้ พฤติกรรมการเตรียม และความสะอาดของลำไส้ใหญ่ในผู้ที่เข้ามารับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่
  •  ประสิทธิผลของการจัดการตนเองและครอบครัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดยโสธร
  •  รูปแบบการจัดเครือข่ายบริการพยาบาลรายกรณีสำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย ศูนย์กรุณาพีร์ คำทอน โรงพยาบาลร้อยเอ็ด
  •  การพัฒนาแนวปฏิบัติการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลชัยภูมิ
  •  ทัศนคติและพฤติกรรมการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลนางแล อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
  •  การพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อคัดกรองการถูกกระทำความรุนแรงและจัดการดูแลผู้ป่วยเด็กและสตรีที่มารับบริการในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด
  •  การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงสมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคมกับการปรับวิถีการดำเนินชีวิตของชาวภูฏานที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
  •  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเป็นมารดาของวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
  •  ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง
  •  ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Enterobacteriaceae ที่ดื้อต่อยากลุ่ม Carbapenem (CRE) ในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ